![]() |
|||||||||||||||||||||
|
ภาคอีสานเป็ นภูมิภาคที่มีความหลากหลายทาง ศิลปวัฒนธรรมและประเพณี แตกต่างกันไปในแต่ละ ท้องถิ่นแต่ละจังหวัด ศิลปวัฒนธรรมเหล่านี ้เป็ นตัวบ่ง บอกถึงความเชื่อ ค่านิยม ศาสนาและรูปแบบการ ด าเนินชีวิตตลอดจนอาชีพของคนในท้องถิ่นนั ้นๆได้ เป็ นอย่างดี สาเหตุที่ภาคอีสานมีความหลากหลายทาง ศิลปวัฒนธรรมประเพณีส่วนหนึ่งอาจจะเป็ นผลมาจาก การเป็ นศูนย์รวมของประชากรหลากหลายเชื ้อชาติ และมีการติดต่อสังสรรค์กับประชาชนในประเทศใกล้เคียง จนก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมขึ ้น เช่น ประชาชน ชาวอีสานแถบจังหวัดเลย หนองคาย นครพนม มุกดาหาร อุบลราชธานี อ านาจเจริญ ที่มีพรมแดนติดต่อกับประเทศลาว ประชาชนของทั ้งสองประเทศมีการเดินทางไปมาหากัน ท าให้เกิดการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรมและ ประเพณีระหว่างกัน ซึ่งเราจะพบว่าชาวไทยอีสานและชาวลาวแถบลุ่มแม่น ้าโขงมีศิลปวัฒนธรรมประเพณีที่คล้ายๆกัน และรูปแบบการด าเนินชีวิตก็มีความคล้ายคลึงกันด้วย รวมทั ้งชาวเวียดนามที่อพยพเข้ามาในช่วงสงครามเวียดนาม ก็ได้ น าเอาศิลปวัฒนธรรมของเวียดนามเข้ามาด้วย ถึงแม้ปัจจุบันชาวเวียดนามเหล่านี ้จะได้ปรับตัวเข้ากับวัฒนธรรมของ ท้องถิ่นอีสาน (เพื่อให้การด ารงชีวิตเป็ นไปอย่างราบรื่น) โดยเฉพาะชาวเวียดนามที่เป็ นวัยรุ่นในปัจจุบันได้รับการศึกษาที่ดี เหมือนกับชาวไทยทุกประการ จนแทบแยกไม่ออกว่าเป็ นคนไทยอีสานหรือคนเวียดนามกันแน่ ส่วนใหญ่ก็จะเห่อ วัฒนธรรมตะวันตก(เหมือนเด็กวัยรุ่นของไทย)จนลืมวัฒนธรรมอันดีงามของตัวเอง แต่ก็ยังมีชาวเวียดนามบางกลุ่มส่วน ใหญ่เป็ นคนสูงอายุยังคงยึดมั่นกับวัฒนธรรมของตนเองอยู่อย่างมั่นคง ท่านสามรถศึกษารูปแบบการด าเนินชีวิตแบบ เวียดนามได้ตามชุมชนชาวเวียดนามในจังหวัดที่กล่าวมาแล้ว ส่วนประชาชนที่อยู่ทางจังหวัดสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ นครราชสีมา มีการติดต่อกันกับประชาชนชาวกัมพูชาก็จะรับเอาวัฒนธรรมของกัมพูชามาประยุกต์ใช้ ซึ่งส่วนใหญ่แล้ว วัฒนธรรมประเพณีของคนทั ้งสองเชื ้อชาติก็มีความคล้ายคลึงกันอยู่แล้ว จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าภาคอีสานเป็ นภูมิภาคที่ มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมและวัฒนธรรมต่างๆ ก็มีความแตกต่างกันตามแต่ละท้องถิ่นและแตกต่างจากภูมิภาค อื่นๆของไทยอย่างเห็นได้ชัด ทั ้งวัฒนธรรมทางด้านการด ารงชีวิตและวัฒนธรรมที่เกี่ยวข้องกับศาสนา ซึ่งเราสามารถสังเกต รูปแบบวัฒนธรรมที่ดีงามของชาวอีสานผ่านทางประเพณีต่างๆที่ชาวอีสานจัดขึ ้นซึ่งสามารถถ่ายทอดวัฒนธรรมอีสานได้ เป็ นอย่างดี
|
||||||||||||||||||||
จัดทำโดย เด็กชายสรวิชญ์ พืชสิงห์ ชั้น ม.3/4 เลขที่11 โรงเรียนนางิ้ววิทยาสรรค์ สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น |